ธรรมะจากต้นไม้

Rate this item
(0 votes)
หลวงพ่อชา หลวงพ่อชา

ธรรมบรรยายจากคำสอนของพระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภทฺโท)

ธรรมะจากต้นไม

สัตวปา เชน นกเขา นกเคา จักจั่น เรไร สงเสียง ทีไรก็รู เพราะมันบอกลัษณะของมันอยู คนเราปากกับใจไมตรงกัน ไวใจยาก ใหระวัง

เมื่อเขานินทาเรา ตองหยุดนิ่ง พิจารณาดูวา เขาวา อะไรกัน ถาไมเปนจริงก็แลวไป ก็หมดเรื่องกันเทานั้นเอง

ถาเราชนะตัวเอง ก็จะชนะทั้งตนเองและผูอื่นชนะทั้งอารมณ ชนะทั้งรูป ทั้งเสียง ทั้งกลิ่น รส ทั้งโผฐฐัพพะเปนอันวาชนะทั้งหมด

คนไมรู พระพุทธเจาทานสอนใหรู คนรูแลว ไมทําตาม พระพุทธองคไมสอน

พระพุทธองคทานวา สอนตัวอยางไร สอนคนอื่นอยางนั้น ตัวทําอยางไร จึงใหคนอื่นทําอยางนั้น

สาวกของพระพุทธเจาตรัสรูได เพราะเห็นความไมเที่ยง อยาทําสิ่งใดในที่ลับ เพราะกิจในที่ลับมักมีความชั่ว

กาย วาจาของเราก็เชนกัน ถามีผูรักษา มันก็งาม ความชั่วชาลามกสกปรกเกิดขึ้นมาไมได

ความดีความชั่วทั้งหลายมันลวนแตเกิดในหนาที่การงาน ทั้งหลายของเรานั่นเองดีก็เกิดที่ทําดีนั้นเองชั่วก็เกดิ ที่ทําชั่วนั่นเอง

ฉะนั้นอยาไปอิจฉาพยาบาทกันขอสําคัญ ใหทําใจใหเกิด “ตัวพอ” ขึ้นมาธรรมะคือความพอดี

พระพุทธองคสอนใหฟงอยางนี้ ใหความดีเขาไปฝงในใจ แลวความทุกขมันก็ถอนออกไป หางออกไป

คนดีดีอยูที่ไหน? คนดีอยูที่เรา ถาเราดี จะอยูตรงไหนกับใคร ก็ดีทั้งนั้น

ผูที่จะเขาถึงธรรมะ เบื้องตนจะตองทําตนใหเปน คนมีความซื่อสัตยสุจริตอยูเปนประจํา

จะรูธรรม จะเห็นธรรม อยูที่ปฏิบัติ

มีความอาย มีความกลัวเทานี้เองก็เปนธรรมะแล้ว

ที่เราไมเห็นธรรม ก็เพราะตัณหา

คนจะบรรลุธรรมะ จะไดเห็นธรรมะ ตองรูจักวาธรรมะอยูตรงไหนเสียกอน

เมื่อเราปฏิบัติธรรมไมวาอารมณใดจะเกิดขึ้น ก็ชางมันใหปฏิบัติไปเรื่อยๆ ปฏิบัติอยางสม่ำเสมอ

การกราบ ช่วยแกความถือตัวของเราไดอยางดี

อยาไปมองขางนอก ถาไปยึดขางนอก มันจะลืมตัว มันจะไมเห็นตัว

อยากจะเห็นสิ่งทั้งหลาย ใหเห็นตัวเอง เปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองเรียนรูที่จะสํารวจ และสอบถามตัวเอง ทานใหแกไขตัวเราเองไมใชไปแกอยางอื่น

การพิจารณาตัดสินผูอื่น จะเพิ่มความหยิ่งทนงตน จงเฝาดูตน เห็นงู แลวหนีงู งูพิษก็ไมตามเรา

ตัววิชชา นี่แหละมันคลอดออกจากตัว อวิชชาตัวรู คลอดจากความไมรู ตัวสะอาด คลอดจากตัวสกปรก มันเปนอยางนี้

พยายามตอสูเอาชนะอวิชชาใหได ดวยการบังคับตัวเองเสมอ นี่เรียกวา “ศีล”

พระพุทธเจาตรัสวา กิเลสทั้งหลายเปนครูของเรา พระพุทธเจาทานไมใหตามกิเลสใหขัดมัน

การปฏิบัติที่แทจริง จะตองมีศีลบริสุทธิ์

อาการบังคับตัวเองใหกําหนดลมหายใจ ขอนั้นเปน “ศีล” การกําหนดลมหายใจและติดตอกันไปจนจิตสงบ ขอนี้เรียกวา “สมาธิ”การพิจารณากําหนดรูลมหายใจวา ไมเที่ยง ทนไดยาก ขอนี้เรียกวา “ปญญา”

เมื่อเกิดกิเลสเครื่องเศราหมอง จงรูทันและเอาชนะมัน โดยปลอยใหมันผานไปเสีย พิจารณาวา อันนี้ก็เปนของ “ไมเที่ยง” “ไมแนนอน” พิจารณาทุกขณะที่มันเกิดขึ้น

นานๆ ไปเราก็เห็นของไมเที่ยงในอารมณทั้งหลายเหลานี้ ความยึดมั่นในความเศราหมองนั้นก็จะนอยลงๆ

กิเลส ยอมตกเปนเครื่องมือของผูมีปญญา กิเลส อาจทําคนธรรมดาใหเปนพระพุทธเจา กิเลส ยอมเปนนายผูทารุณของคนโง กิเลส ยอมทําคนโงใหเปนสัตวเดรัจฉาน

เราทําตามกิเลสมาแลวกี่ปี? ทําไมเราไมปลดปลอย ราคะ โทสะ โมหะ ของเรา

พระพุทธเจาทั้งหลายบําเพ็ญทางจิต ความตรัสรูของพระพุทธเจาทั้งหลายอยูที่รูจิต

ใจจะสงบได ก็ดวยความเห็นที่ถูก

อะไรจะทําใหเราเสียหายไปไมได นอกจากจิตที่คิดผิดของเรา

จิตที่ฝกดีแลว นําความสุขมาให

การฝกจิตใหดี ยอมสําเร็จประโยชน

จิตที่อบรมดีแลว มันจะอบรมของมันเอง

การเฝาดูจิต นี่แหละคือ การปฏิบัติของเรา ซึ่งจะนําไปสูความไมเห็นแกตัวและความสงบสันติ

จิตของคนตามธรรมชาตินั้นไมมีความดีใจเสียใจ ที่มีความดีใจ เสียใจนั้น ไมใชจิต

ธรรมชาติของจิตยอมปลอยวางทุกสิ่งอยูเองแลว โดยตัวของมันเองและไมตองพึ่งพาสิ่งใด

จงมองใหเห็น “ความรู” ทุกชนิด เปนเพียงสุสานของความคิด

อารมณนี้ ธรรมะนี้ มันเกิดที่จิต อารมณนี้แหละ เปนครูสอนเรา ไมหลงอารมณเพราะรูอารมณ ดูจิตก็เห็นอารมณ เมื่อรูจักผิด รูจักถูกแลว ก็พยายามละมัน

การทําความเขาใจใหรูชัดวาทุกสิ่ง มีความเปลี่ยนแปลงอยางเสมอ ไมควรยึดมั่นถือมั่นอะไรเลย นี่คือ ความรูตามความเปนจริง

ธรรมดาจิตของเรา มันมีทั้งเวลาขยันและขี้เกียจ แตเมื่อทําความเพียรดวยสัจจะ เราตองทําไปเรื่อย

ทานใหปลอยทั้งชอบและไมชอบ อยาไปเกี่ยวของกับมัน แตใหรู มีสติอยู สงบอยู เทานั้นแหละ

การปฏิบัติคือการฝนใจตนเอง การตามใจตนเอง ไมใชแนวทางของพระพุทธเจา ถาปฏิบัติตามความคิดเห็นของเราเอง เราจะไมมีวันรูแจงวา อันใดผิด อันใดถูก ไมมีวัน รูใจตัวเอง และไมมีวันรูจักตนเอง

การปฏิบัติจริงๆ ตองปฏิบัติเมื่อประสบกับอารมณ

การปฏิบัติธรรมเปนสิ่งที่ละเอียด ผูที่กริยานุมนวล สํารวม ปฏิบัติ ไมเปลี่ยนแปลง สม่ำเสมออยูเรื่อยๆ นั่นแหละจึงจะรูจัก มันเกิดอะไรก็ชางมันเถิด ขอแตใหมั่นคงแนวแนเอาไว อยาชวนเซหวั่นไหว

กุญแจ 4 ดอก

รู เฉพาะหนา เห็น ตามเปนจริง เปน ตามนั้น อยู อยางสม่ําเสมอ

การละบาปนี้สําคัญกวาการทําบุญ ไมละบาป ไมละความชั่วแลว จิตไมผองใสหรอก ถาทําบาปแลกบุญ ก็ขาดทุนเรื่อยไป ทําดีไดชั่วไมมีหรอกทําชั่วไดดีก็ไม่มี

สิ่งที่แนนอนไมมี

บางคนก็มาวัดทุกวัน วันพระก็มานั่งหลับตาภาวนา พอกลับไปบานก็ทิ้งเลย ทะเลาะกับลูกกับผัว กับใครตอใคร เขาเขาใจวา เวลานั้นเขาออกจากภาวนาแลว

คนไมรูจัก นึกวาการเดินจงกรม การฟงธรรม การนั่งสมาธิเทานั้น เปนการปฏิบัติ ก็จริงอยู แตมันเปนเปลือกของมัน

ถาเราไมติดในความรัก ความชัง ความสุข ความทุกขเทานั้น ก็เรียกวา เราเดินตามกระแสธรรมสมณะแลว

มีสติคุมครองอยูเสมอ นี่แหละคือสมาธิ การทําสมาธิภาวนา คือการมีสติรอบคอบ และการมีจิตเปนปกติตามธรรมชาติ ในการกระทำ ทุกอิริยาบถ

พระวินัยและศีลธรรมเป็นบันไดอันแข็งแกรง นําไปสูสมาธิอันยิ่ง และปญญาอันยิ่ง

การมีสติและการสํารวมระวัง ในกฎระเบียบตางๆ ใหคุณประโยชนอันใหญ่หลวง ทําใหมีความเปนอยูอยางสงบงาย ไมจําเปนตองพะวงวา จะตองทําตนอยางไร ดังนั้นจึงพนจากการครุนคิด เพราะมีสติดํารงอยูอยางสงบระงับ

เรื่องเวทนานี้ เราจะหนีพนไปไหนไมได เราตองรูทัน

เวทนา ก็สักวา เวทนา สุข ก็สักวา สุข ทุกข ก็สักวา ทุกข

มันเปนของสักวาเทานั้นแหละ แลวจะไปยึดมั่นถือมั่นมันทําไม

อยาไปเชื่อในสิ่งที่เขาวาถูก อยาไปเชื่อในสิ่งที่เขาวาผิด

เชื่อมากมันก็เปนภัย ไมเชื่อมันก็เปนภัย

เมื่อเราชวยเขานั่นแหละ คือชวยตัวเราเอง เมื่อเราดูถูกเขานั่นแหละ คือเราดูถูกตัวเอง เมื่อเราเมตตาเขานั่นแหละ คือเมตตาตัวเอง

เมื่อบวชเขามาแลว ก็ทําตัวเปนพระภิกษุใหมอยูเสมอ

ขณะแหงการปฏิบัติ คือขณะแหงการตรัสรู

กินนอย นอนนอย พูดนอย คือ นักปฏิบัติ กินมาก นอนมาก พูดมาก คือ คนโง

จุดหมายสูงสุดของการปฏิบัติภาวนานั้น ทานทรงสอนใหปลอยวาง

คําที่วาอายนี้เราเห็นวาอายตอบาป อายตอความผิดเทานั้น

อยาไปตัดสินคนอื่น คนเรามีหลายแบบตางๆกัน อยาคอยแตมั่นหมายที่จะเปลี่ยนแปลงใครๆ ไปหมดทุกคน

แตเดิมกระโถนไมมีชื่อ จะเรียกวาอะไรก็ไดทั้งนั้น เพราะความจริงแลวกระโถนไมมี เปนสักแตวาธาตุไดเกาะกุมขึ้นเทานั้น

เปนของสมมุติไมเที่ยงมีแลวหาไม เกิดแลวดับไป รางกายจิตใจ และทรัพยคฤงคารของ มนุษยเหลานั้นเหมือนกัน

นี่น้ํารอน ที่สุดของน้ํารอนอยูที่ไหน คําถามประโยชนนี้ คุณไมตองตอบ แตใหคุณนําไปคิดดวยปญญา คือ การภาวนา มันเปนคําสอนสุดทาย ในคําสอนของอาตมา

ในการปฏิบัติธรรม ควรรักษาจริยวัตรเหมาะสมแกตน ยอมมีผลเทากับสอนผูอื่นดวย

ของที่สืบเนื่อง เพื่อจะเตือนสติในหมูมนุษยทั้งหลาย เขาก็มีอยูอยางนั้น มิไดขาด

เมื่อฉลาดในจิต ก็ยอมฉลาดในอารมณ ก็ฉลาดในโลก

ทําความเขาใจใหรูชัดวา ทุกสิ่งมีความเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ไมควรยึดมั่นถือมั่นในอะไรเลย นี่คือความรูตามความเปนจริง

ถาคนธรรมดา “เห็น” เขาจะกลายเปนมุนี ถา มุนี “เห็น” เขาจะกายเปนคนธรรมดา

ดูทอนไมนี้ซิ สั้นหรือยาว? สมมุติวา คุณอยากไดไมที่ยาวกวานี้

ไมทอนนี้มันก็สั้น แตถาคุณอยากไดไมสั้นกวานี้ ไมทอนนี้ก็ยาว

จงหาความดี จากคนที่เลว จงหาความเลว จากคนที่ดี

คนที่ไมรูจักสุข ไมรูจักทุกขนั้น ก็จะเห็นความสุขกับทุกขนั้นมันคนละระดับ คนละราคากัน ถาผูรูทั้งหลายรูแลว ทานจะเห็นวา สุขกับทุกขมันมีราคาเทากัน

เมื่อถึงคราวปวยไข เขาโรงพยาบาล เราก็ตองวาหาย ก็เอาตายก็เอา เอาหายอยางเดียวทุกขแน

คงหลงโลก คือ หลงอารมณ คนหลงอารมณ คือ หลงโลก

มรรคผลไมพนสมัย คนโงเทานั้นที่ปฏิเสธวาในพื้นดินไมมีน้ำ แลวไมยอมขุดบอ

พระพุทธเจาทรงสอนวา “อานนทปฏิบัติใหมาก ทําใหมาก แลวจะสิ้นสงสัย”

ปฏิบัติไปเรื่อย มีสติคุมครองอยูเสมอ นี้คือ สมาธิ สมาธิ คือ ปญญา

ทานทั้งหลายอยาทิ้งหลักการประพฤติปฏิบัติ การพูดนอย นอนนอย กินนอย การสงบระงับ

ไมคลุกคลีหมูคณะ การเดินจงกรมเปนประจํา การนั่งสมาธิเปนประจํา

พระวินัย และศีลธรรม เปนบันไดอันแข็งแกรง นําไปสูสมาธิยิ่ง และปญญายิ่ง

ธุดงควัตรทั้งหลายลวนเปนเครื่องชวยเราให ทําลายกิเลสเครื่องเศราหมอง เปนวิธีการที่ทําใหการปฏิบัติของเราเปนไปอยางเรียบงาย

ภิกษุทั้งหลาย วันคืนลวงไป...ลวงไป บัดนี้เธอกําลังทําอะไรอยู

ธรรมะขอนี้นะเธอเขาใจดีหรือยัง พวกคุณทํากิจอันสูงสุดตามที่พระพุทธเจาสอนนั้น เสร็จแลวหรือยัง

ขันติ...ความอดทน อดทนมันเปนแมบทของธรรมทั้งหลายทั้งปวง

ทุกคนจะตองอยูในความอดทนทั้งนั้น อดทน ตองอดทน อดทนใหความดี

การฝกจิตไมเหมือนฝกสัตว จิตนี่เปนของฝกยากแทๆ แตอยาไปทอถอยงายๆ ถามันคิดไปทั่วทิศก็กลั้นใจมันไว พอใจมันจะขาด มันก็คิดอะไรไมออก มันก็วิ่งกลับมาเอง ใหทําไปเถอะ

อุปธิวิเวก กิเลสสงบ
อุปธิสงัด ระงับกิเลส คือความเศราหมอง คือ ราคะ โทสะ โมหะวุนวายตางๆ ที่เรียกวากิเลส

ขอใหจําไววา ถึงจะขี้เกียจ ก็ใหพยายามปฏิบัติไป ขยันก็ใหปฏิบัติไป ทุกเวลาและทุกหนทุกแหง นี่เรียกวา การพัฒนาจิต

ภาวนา คือ การพัฒนาใหเห็นที่มันถูกตอง เห็นเปนสิ่งที่ถูกตองเปนที่พอดี แลวมาแตงใจเจาของ

การตั้งใจของผูประพฤติปฏิบัตินี้ ใหเอาชนะตัวเอง ไมตองเอาชนะคนอื่น ใหสอนตัวเอง ไมตองพยายามสอนนคนอื่นใหมากที่สุด

จะตองใหสติมีพรอมอยูเสมอ ทําไมจึงเปนอยางนั้น เพราะมันมีโอกาสที่จะบรรลุธรรมะอยูทุกเวลา อยูทุกสถานที่ เมื่อเราตั้งใจอยู พิจารณาอยู

สิ่งที่รักษาสมาธิได คือสติ สตินี้เปนธรรม เปนสภาวะธรรมอันหนึ่ง ซึ่งใหธรรมอันอื่นๆ ทั้งหลาย เกิดขึ้นโดยพรอมเพียง สตินี้ก็คือ ชีวิต ถาขาดสติเมื่อใด ก็เหมือนตาย

การปฏิบัตินี้คือ การมาสรางความรูอันหนึ่ง ใหมีกําลังมากกวาความรูที่มีอยูแลว
คือ ทําปญญาใหเกิดขึ้นที่จิต ทําญาณใหเกิดขึ้นที่จิต จนมีความสามารถที่จะหยั่งรูกิริยาจิต ภาษาจิต รูอุบายของกิเลสทั้งหลายทั้งปวง ที่เกิดขึ้นมาในจิตนั้น

เมื่อเราเกิดกิเลสเครื่องเศราหมองจงรูทันและเอาชนะมัน โดยปลอยใหมันผานไปเสีย พิจารณาวา อันนี้กเปเปนของ “ไมเที่ยง ไมแนนอน”

พระพุทธเจาตรัสวา กิเลสทั้งหลายเปนครูของเรา พระพุทธเจาทานไมใหตามกิเลส ให้ขัดมัน

สัมมาสมาธิที่ถูกตองนั้น ถึงแมจะมีความสงบไปถึงแคไหน ก็มีความรูตลอดกาล ตลอดเวลา มีสติสัมปชัญญะสมบูรณบริบูรณ

รูตลอดกาล นี้เรียกวา สัมมาสมาธิ

ผูใดมีสติอยูทุกเวลา ผูนั้นก็จะไดฟงธรรมะของพระพุทธเจาอยูตลอดเวลา

มนุษยศาสตรทั้งหลาย มันยิ่งเห็นชัดเจน วามีแตศาสตรที่ไมคมทั้งนั้น

ไมสามารถจะตัดทุกขได มีแตกอใหเกิดทุกข ศาสตรทั้งหลายเหลานั้น เราเห็นวา ถาไมมาขึ้นตอพระพุทธศาสตรแลว มันจะไปไมรอดทั้งนั้น

สูทั้งหลายจงมองดูโลกอันตระการดุจราชรถ ที่คนเขลายอมหมกอยู แตผูรูหาของอยูไม

ธรรมะคืออะไร คือ ทุกสิ่งทุกอยาง ไมมีอะไรที่ไมใชธรรมะ ความรัก ความเกลียดเก็เปนธรรมะ ความสุข ความทุกข ก็เปนธรรมะ ความชอบความไมชอบก็เปนธรรมะ ไมวาจะเปนสิ่งเล็กสิ่งนอยแคไหนก็เปนธรรมะ

จุดหมายสูงสุดของการปฏิบัติภาวนานั้น ทานทรงสอนให ปลอยวาง

อยาแบกถืออะไรใหมันหนัก ทิ้งมันเสีย ความดีก็ทิ้ง ความถูกตองก็ทิ้ง

ธรรมมีอันเดียว เทานี้ไมมีมาก คือจิตของเราที่เห็นชัดแลว มันก็วาง ปลอย หมดแคนั้น

ตัวศาสนา คือ ความสงบระงับ อันเกิดจากความรูเทาในความเปนจริง ในธรรมชาติของความเปนจริงที่เกิดอยู เปนอยู

ใหรูสึกตัวทั่วพรอมอยูตลอดเวลา ใหมีสติอยู ใหเห็นความเกิดดับของกายและใจ แตอยาใหมันมาทําใจใหวุนวาย ใหปลอยวางมันไป ความรักเกิดขึ้นก็ปลอยวางมันไป มันมาจากไหนก็ใหกลับไปที่นั่น

ความโลภเกิดขึ้น ก็ปลอยมันไป ตามมันไป ตามดูวามันอยูที่ไหนแลวตามไปสงมันใหถึงที่ อยาเก็บมันไวสักอยาง

อานาปานสติภาวนา คือ สติจับอยูที่ลมหายใจเขาและหายใจออก

เพราะทุกขอันนี้จะหายไปไดนั้น พระพุทธองคสอนวาใหรูเทาทันมัน จึงจะดับทุกขได

ความดีใจ ความเสียใจ มันเกิดจากพอแมเดียวกัน คือตัณหา ความลุมหลงนั้นเอง

จิตก็เปนผูรับรูอารมณ อารมณก็เปนอารมณ จิตนี้ก็เรียกวาจิต ผูรูทั้งจิตทั้งอารมณนั้นมันเหนือกวาจิต เหนือกวาอารมณไปอีก มันเปนของมันอยางนั้น แลวมันก็มีสิ่ง ที่ซับซอนอยูเสมอ ทานเรียกวา “สติ”

จิตนี้ไมมีอะไรไมเกิดกับใครไมตายกับใครจิตเปนเสรี รุงโรจนโชติการไมมีเรื่องราวตางๆ เขาไปอยูในที่นั้น ที่จะมีเรื่องราวก็เพราะมันหลงสังขารนี่เอง หลงอัตตานี่เอง

ธรรมทั้งหลายเหลานี้ไมใชตัวไมใชบุคคลไมใชเราไมใชเขา พระพุทธเจาทานสอนใหเห็นเปนสักแตวา

ทานสอนวา ธรรมทั้งหลายมันเกิดเพราะเหตุ เมื่อมันจะดับ ก็เพราะเหตุมันดับไปกอน

ธรรมภายในก็ดี ภายนอกก็ดี ลวนเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา

ถาเรามีปญญาแลว มองดูที่ไหน มันก็จะเห็นเปนธรรมะทั้งนั้น

ภาวนาก็เหมือนกับไมทอนเดียว วิปสสนาอยูปลายทอนทางนี้ สมถะอยูปลายทอนทางนั้น ถายกไมทอนนี้ขึ้น ปลายทั้งสองก็จะยกขึ้นดวย

ขัยยะ วัยยัง คือความสิ้นไปเสื่อมไปของสังขาร เสื่อมไปดังกอนน้ำแข็งที่ละลายเปนน้ำ. เราเกิดมา ก็เกิดเอาความเจ็บ ความแก ความตายมาพรอมกัน

ในเวลานี้เราเรียนอยูกลางธรรมะ จะเดินไปขางหนาก็ถูกธรรมะ จะถอยไปขางหลังก็ถูกธรรมะ ธรรมะทั้งนั้น ถาเรามีสติอยู

อยูในโลกนี้ก็เหมือนอยูในกรงเทานั้นแหละ ไมพนไปจากกรง กรงอะไรเลา กรงคือความแก กรงคือความเจ็บ กรงคือความตาย

เรื่องของศาสนานี้ ก็คือเรื่องใหปลอยตัวออกจากกรงนั่นเอง

ศีลหาประการนี้เปนคุณสมบัติของมนุษยที่แท

พระพุทธเจาทานจึงตรัสวา มนุษยจะเกิดมา เปนมนุษยมันยาก เกิดมาเปนมนุษยแลว จะไดเปน มนุษยที่สมบูรณนี่ก็ยาก มันยากจริงๆ

ถาหากเรามีศีล มีธรรมจริงๆ ทั้งกายทั้งจิตของเราแลว เราจะอยูที่ไหนมันก็สบาย มันมีความสงบ มันมีความระงับ

ทุกขประจําสังขารนี้ ยืนก็เปนทุกข นั่งก็เปนทุกข นอนก็เปนทุกข

อยางนี้เปนทุกขธรรมดา ทุกขประจําสังขาร พระพุทธเจาทานก็มีเวทนาอยางนี้

ทุกขที่ไมธรรมดานั้น คือทุกขที่เรียกวา อุปาทาน เขาไปยึดมั่นถือมั่นไว

อยาไปหมายมั่นมันเลย ทุกขเกิดขึ้นมาเราก็บอกไปเลยวาอันนี้มันก็ไมแน

มันแนอยูตรงไหนเลา มันแตอยูตรงที่ไมแน มันเปนอยูอยางนั้นเอง

เตสํ วูปสโม สุโข ความสงบของสังขารนั้นเปนสุข สงบอะไรละ ก็คือ ถอนอุปาทานออกมาวา เห็นธรรมชาติตามความเปนจริงของมัน

อยาเปนอะไรเลย การเป็น อะไรก็มีแตความทุกขเทานั้นแหละ เราไมมีความจําเปนตองเปนอะไรสักอยาง

เดินไปก็เปนทุกข ถอยกลับ ก็เปนทุกข หยุดอยูก็เปนทุกข ถอยกลับก็ไมถอย หยุดอยูก็ไมหยุด มีอะไรเหลือไหม “ดับ” รูปมันดับ นามมันดับ นี้เรียกวาดับทุกข

เมื่อ เราเกิดมาแลว โยม ก็คือเราตายแลวนั่นแหละ ไอความแกกับความตาย มันก็คืออันเดียวกันนั่นแหละ

ไมมีโคน ปลายก็ไมมี มีปลายก็ตองมีโคน มีแตปลาย โคนไมมีก็ไมได มันเปนอยางนั้น

เมื่อรางกายมันทรุดโทรมไปตามวัย โยมก็ยอมรับมัน ใหมันหลุดไป เฉพาะรางกายเทานั้น เรื่องจิตใจนั้นเปนคนละอยางกัน ก็ทําจิตใหมีกําลัง ใหมีพลังเพราะเราเขาไปเห็นธรรมวา สิ่งทั้งหลายเหลานั้นก็เปนอยางนั้น มัน ตองเปนอยางนั้น

อันนี้แหละ ทั้งกอนที่เรานั่งอยูนี่ ที่เรานอนอยูนี้ ที่มันกําลังทรุดโทรมอยู่นี้ นี่แหละมันคือสัจธรรม

พระพุทธเจาสอนวา ไมมีอะไรยิ่งไปกวาการที่เราเขาใจวา อันนี้ไมใชตัวเรา แตเปนของสมมุติ อันนั้นไมใชของของเรา แตเปนของสมมุติ

เราอยูดวยความอนิจจัง อยูดวยความเปลี่ยนแปลงอยางนี้ รูวามันเปนอยางนี้แลวก็ปลอย เรียกวาการปฏิบัติธรรม ธรรมภายในก็ดี ภายนอกก็ดี ลวนเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เปนของไมแนนอน มีความเกิดเปนเบื้องตน มีความแก เปนทามกลาง มีความตายเปนที่สุด เหมือนกันหมด

ความเปนจริงไมมีอะไร ดินก็ดี น้ำก็ดี ลมก็ดี ไฟก็ดี ที่ประกอบกัน เรียกวามนุษยนี้ เปนไปดวย อนิจจัง ทุกข อนัตตา คือ เปนของไมแนนอน เปนของไมยั่งยืน เปนของหมุนเวียน เปลี่ยนแปลงไป อยูอยางนี้

ที่จริงไมมีใครทั้งสิ้น มันเปนสมมติ มีดินมีน้ำมีลมมีไฟเทานั้นแหละ

มันเปนสมบัติของโลก เราอยูนี่ก็ชั่วคราว เมื่อเราไป ก็เปนสมบัติของโลก

ใครมีอะไรไดอะไร ก็เอาไปไมได อยูโลกนี้แหละ

ที่มา : Bitded